ประเทศไทย เปนหนึ่งในประเทศผูนําดานเกษตรกรรมของโลก โดยสงออกพืชเศรษฐกิจที่สําคัญหลายอยาง เชน ขาว ยางพารา มันสําปะหลัง และผลไมหลากหลายชนิด จากขอมูลสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร พบวา ในป 2561 ประเทศไทยมีรายไดจากการสงออกสินคาเกษตร 742,465.09 ลานบาท แตตลอดเวลาที่ผานมาประเทศไทยตองพึ่งพาการ นําเขาแมปุยจากตางประเทศทั้งสิ้น ทําใหการผลิตปุยเคมีสูตรตาง ๆ มีตนทุนที่สูง
ทั้งที่ประเทศไทยเปน 1 ในจํานวนเพียงไมกี่ประเทศทั่วโลกที่มีแหลงโพแทชขนาดใหญและอุดมสมบูรณแหลงหนึ่ง ของโลก นอกเหนือจาก แคนาดา รัสเซีย เบลารุส และเยอรมนี ที่สามารถนํามาผลิตแมปุยโพแทช (K) 1 ใน 3 ของธาตุ อาหารหลักของพืช นอกเหนือจาก ไนโตรเจน (N) และ ฟอสฟอรัส (P) ซึ่งไมมีสารสังเคราะหใดทดแทนได อีกทั้งประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนและใกลเคียงซึ่งลวนแตเปนประเทศเกษตรกรรม ก็ไมสามารถผลิตแมปุยโพแทชนี้ได ดังนั้นทั้งภูมิภาคนี้จึง จําเปนตองพึ่งพาการนําเขาจากตางประเทศทั้งสิ้น โดยอุปสงคในภูมิภาคอาเซียนรวมกันมีสูงถึงเกือบ 10 ลานตันตอป และ หากรวมประเทศในเอเชียใตและจีนดวยแลว ก็จะมีความตองการการนําเขาแมปุยโพแทชสูงถึงกวา 25 ลานตันตอปหรือราว 40% ของความตองการทั้งโลก โดยในสวนของประเทศไทยมีการนําเขาปุยโพแทชราว 700,000 – 800,000 ตันตอป ดังนั้น หากประเทศไทยสามารถผลิตปุยโพแทชไดเอง ก็จะสามารถตัดการพึ่งพาจากตางชาติ และสวนที่เหลือใชภายในประเทศยัง สามารถสงออกไปยังประเทศเพื่อนบานไดอีกดวย อีกทั้ง การที่ประเทศไทยตั้งอยูในใจกลางของตลาดในภูมิภาคนี้ ทําให สามารถสงสินคาไดรวดเร็วโดยไมจําเปนตองขนสงเปนจํานวนมากในคราวเดียวทําใหผูซื้อสามารถลดภาระคาใชจายในดาน สินคาคงคลังและเพิ่มความคลองตัวของกระแสเงินสด จากปจจัยตาง ๆ เหลานี้ จะสนับสนุนใหไทยเพิ่มโอกาสแขงขันกับ ผูผลิตปุยโพแทชรายเดิมเพิ่มสูงขึ้น และกาวไปสูการเปนผูนําทางดานปุยในภูมิภาคนี้ในอนาคต